Table of Contents

บทความที่เกี่ยวข้อง

ประวัติ ลูกเสือไทย ลูกเสือโลก สรุปย่อเข้าใจง่าย มีที่มาอย่างไร

ลูกเสือไทย ลูกเสือโลก ประวัติลูกเสือไทย เริ่มต้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2454 หลังจากประวัติลูกเสือโลกก่อตั้งเพียง 4 ปีเท่านั้น เริ่มแรกมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างนิสัยในการสังเกต เชื่อฟัง และพึ่งพาตนเอง โดยต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต

Read More »

ลูกเสือไทย มีกี่ประเภท

ลูกเสือไทย มีกี่ประเภท ไม่ว่าประเทศใดในโลกที่มีกิจการลูกเสือของตน จะมีการแบ่งประเภทเอาไว้เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ หลักการ และวิธีการขององค์การลูกเสือโลก ซึ่งบางอยางอาจถูกปรับเปลี่ยนไปบางตามลักษณะสังคม วัฒนธรรม ของแต่ละประเทศ แต่โดยภาพรวมแล้วจะแบ่งประเภทลูกเสือตามเกณฑ์อายุ ด้วยการที่คำนึงถึงพัฒนาการทางรางกาย และจิตใจของเด็กเป็นพื้นฐานในการฝึกอบรม เพื่อไม่ให้ฝืนธรรมชาติของเด็ก ซึ่งสามารถทำให้เด็กพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยมากแล้วทั่วโลกจะมีการแบงประเภทลูกเสือเป็น

Read More »

ลูกเสือไทยคนแรกคือใคร

ลูกเสือไทยคนแรกคือใคร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีความ เห็นพ้องกันกับ บี.พี. จึงได้ทรงเริ่มตั้งกองลูกเสือขึ้น หลังจากตั้งกองเสือเสือป่าได้เพียงสองเดือน คือ เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ ณ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง

Read More »

ลูกเสือไทย มีกี่ประเภท

ลูกเสือไทย มีกี่ประเภท ไม่ว่าประเทศใดในโลกที่มีกิจการลูกเสือของตน จะมีการแบ่งประเภทเอาไว้เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ หลักการ และวิธีการขององค์การลูกเสือโลก ซึ่งบางอยางอาจถูกปรับเปลี่ยนไปบางตามลักษณะสังคม วัฒนธรรม ของแต่ละประเทศ แต่โดยภาพรวมแล้วจะแบ่งประเภทลูกเสือตามเกณฑ์อายุ ด้วยการที่คำนึงถึงพัฒนาการทางรางกาย และจิตใจของเด็กเป็นพื้นฐานในการฝึกอบรม เพื่อไม่ให้ฝืนธรรมชาติของเด็ก ซึ่งสามารถทำให้เด็กพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยมากแล้วทั่วโลกจะมีการแบงประเภทลูกเสือเป็น 2 แบบใหญ่ คือแบบอังกฤษ ซึ่งถือเอาฃแบบแผนตามที่ BP เคยปฏิบัติเอาไว้ กับแบบอเมริกา ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนไปเล็กน้อย

สำหรับประเทศไทยนั้นยึดถือตามแบบอังกฤษ คือ

  1. ลูกเสือสำรอง เนตรนารีสำรอง
  2. ลกเสือสามัญ เนตรนารีสามัญ
  3. ลกเสอสามัญรุ่นใหญ่ เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่
  4. ลูกเสือวิสามัญ เนตรนารีวิสามัญ

แต่ที่พิเศษประเทศไทยเป็นประเทศเดียวในโลกที่มี ลูกเสือชาวบ้าน

หมายเหตุ
* การกล่าวถึงลูกเสือประเภทต่างๆนั้น จะหมายรวมเอาเนตรนารีเข้าไปด้วย เพราะเนตรนารีได้ถูกระบุตามกฎหมายว่าเป็น ลูกเสือหญิง (เด็กนักเรียนหญิงที่มีชั้นปีการศึกษาและอายุตามเกณฑ์ในการเป็นลูกเสือ) จะต่างกันที่เครื่องแบบ และวิชาการฝึกบางวิชาเท่านั้น

* ลูกเสือหญิง ที่แท้จริงแล้วคือระดับผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ที่ต้องผ่านการฝึกอบรมตามขั้นตอน สวนมากเป็นคร, อาจารย์ของโรงเรียนที่มีกองลูกเสือตั้งอยู่ หรือบุคคลภายนอก (ประชาชนที่สนใจ) ที่เข้ารับการอบรมเพื่อเป็นเจ้าหน้าที่ลูกเสือ ด้วยการสมัครจนผ่านการอบรม จากนั้นจึงจะได้การรับรองโดยคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ เครื่องแบบของลูกเสือหญิงนี้จึงเหมือนกับลูกเสือทุกประการ ยกเว้นกระโปรง ถุงเท้า ฯลฯ ที่สวมใส่ได้เฉพาะผู้หญิงเท่านั้น

ลูกเสือไทย มีกี่ประเภท ลูกเสือสำรอง

ลูกเสือไทย มีกี่ประเภท ลูกเสือสำรองมีคำปฏิญาณและกฎที่กำหนดไว้สำหรับลูกเสือสำรองโดยเฉพาะ เนื่องจากยังอยู่ในวัยเด็ก คำปฏิญาณและกฎต้องง่ายแก่การท่องและจำ จนถึงง่ายต่อการปฏิบัติเพื่อความเหมาะสมกับวัย

คำปฏิญาณของลูกเสือสำรอง คือ ข้าสญญาว่า

  • ขอ 1. ข้าจะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
  • ขอ 2. ข้าจะยึดมั่นในกฎของลูกเสือสำรองและบำเพญประโยชน์ต่อผู้อื่นทุกวัน

กฎของลกเสือสำรอง

  1. ลกเสือสำรองทำตามลูกเสือรุ่นพี่
  2. ลกเสือสำรองไม่ทำตามใจตนเอง

คติพจน์ : ทำดีที่สุด (Do Our Best)

ลูกเสือสามัญ

ลูกเสือ และเนตรนารีสามัญ : ต่อมาเมื่อเด็กมีอายุได้ ระหวาง 11-17 ปี และเรียนอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จึงเลื่อนชั้นจากลูกเสือสำรองมาเปนลกเสอสามัญ

คติพจน์ : จงเตรียมพร้อม (Be Prepared)

ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่

ลูกเสือ และเนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่ : หลังจากลูกเสือสามัญฝึกฝนตามระเบียบแบบแผนอย่างครบถ้วน และมีอายุเพิ่มขึ้นมาอยู่ระหว่าง 15-18 ปี ซึ่งก้าวเข้าสู่ระดับการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จงสามารถเป็นลูกเสือสามัญร่นใหญ่

คติพจน์ : มองไกล (Look Wide)

ลูกเสือวิสามัญ

ลูกเสือ และเนตรนารีวิสามัญ
มีเกณฑ์อายุอยู่ระห่วาง 17-23 ปีและกำลังเรียนอยู่
ในระดับมัธยมปลาย อาชีวศึกษา หรืออุดมศึกษา
คติพจน์ : บริการ (Service) ลูกเสือไทย มีกี่ประเภท

บทความที่เกี่ยวข้อง